ยินดีต้อนรับ

คลิกที่รูป เพื่อเอาโค้ดรูปนี้ไปแปะ

วันอาทิตย์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2556

Week 18



Date 18 Sep 2013



องค์ความรู้
**หมายเหตุ  เรียนชดเชยวันที่อาทิตย์** อาจารย์ให้ส่งงานสื่อวิทยาศาสตร์ 3 อย่าง นำเสนอสื่อ 1 อย่าง



Week 17



Date 18 Sep 2013


องค์ความรู้
เข้าครัวทำไข่ตุ๋น กิจกรรม cooking หลังจากที่ได้เขียนแผนการจัดประสบการณ์เมื่อสัปดาห์แล้ว

ขั้นตอนการจัดประสบการณ์ cooking (ไข่ตุ๋น)

  1.  ครูจัดเด็กนั่งเป็นครึ่งวงกลม  แล้วนำอุปกรณ์ที่จะทำไข่ตุ๋น ในวันนี้วางไว้ข้างหน้า
  2.  ครูเสริมแรงเด็กโดยการใช้คำถาม  เช่น เด็กเห็นไหมคะว่าวันนี้คุณครูมีอะไรมา?
  3.  ครูแนะนำวัตถุดิบให้เด็กฟัง
  4.   ครูให้นักเรียนอาสาสมัครออกมาหั่นผักและก็ปูอัดทีละคน ผักที่จะหั่นได้แก ผักชี ต้นหอมแครอท..โดยที่คุณครูเฝ้าาสังเกตการหั่นผักแต่ละชนิดของเด็กๆ
  5.   เด็กๆ กับครูร่วมกันปรุงรสไข่ตุ่นกันอย่างสนุกสนาน ^^



ทักษะที่ได้รับ

- ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดสร้างสรรค์จากเพื่อนกลุ่มอื่นๆ

Week 16



Date 15 Sep 2013


**หมายเหตุ วันนี้มีเรียนชดเชย** ดิฉันลาจึงไม่ได้ไปเรียน

Week 15



Date 11 Sep 2013


*หมายเหตุไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากอาจารย์ติดภาระกิจราชการ*

มีงานมอบหมายคือ เตรียมจัดทำรูปเล่มที่ไปศึกษาดูงาน

Week 14



Date 4 Sep 2013
                               
                                     
                            **หมายเหตุ ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากอาจารย์ติดภาระกิจราชการ**

Week 13



Date 28 August 2013

ไปศึกษาดูงาน วันที่ 27-28  สิงหาคม 2556

ณ สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา   และ  โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์


ไหว้ญ่าโมก่อนไป รร.ลำปลายมาศ



Week 12



Date 21 August 2013

**หมายเหตุ ไม่มีการเรียนนการสอน**

       -  มอบหมายงานให้ไปหาข้อมูลที่เราจะไปศึกษาดูงาน และเตรียมตัวตามหน้าที่ขอตนเองที่ได้
มอบหมาย

Week 11



Date 14 August 2013

องค์ความรู้

  1. นัดหมายการไปศึกษาดูงาน ที่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์ ในวันที่  27 - 28  สิงหาคม  255
  2. ตรวจบล็อก พร้อมให้คำแนะนำ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์
  3. มอบหมายหน้าที่ในการไปศึกษาดูงาน


Week 10




Date 13 August 2013


โครงการ "การจัดการศึกษาสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต"

วันอังคาร ที่  13  สิงหาคม  2556 เวลา 13:00 - 16:30 น.

ณ  ห้องประชุมจันทร์ประภัสส์  ชั้น 5  อาคารสำนักงานอธิการบดี

บรรยายพิเศษ  โดย  คุณมีชัย  วีระไวทยะ

Week 9



Date 7 August 2013

หมายเหตุ ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากวันนี้อาจารย์ให้เข้าร่วมอบรม 

"โครงการ กายงามใจดี ศรีปฐมวัย"

Week 8



Date 2 August 2013

   วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจาก เป็นวันสอบกลางภาคเรียนที่ 1


Week 7



Date 24 July 2013

 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

            เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย สามารถคิดเหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมที่ลงมือกระทำกับวัตถุ
  1. ความหมายทักษะการสังเกต  การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์ความหมายทักษะการจำแนกประเภท
  2. ความสามารถในการแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์
  3. ความหมายทักษะการวัด  การใช้เครื่องมือต่างๆ วัดหาปริมาณของสิ่งที่เราต้องการทราบได้อย่างถูกต้อง โดยหาหน่วยการวัดกำกับ
  4. ความหมายทักษะการสื่อความหมายการพูด การเขียน รูปภาพ และภาษาท่าทาง การแสดงสีหน้าความสามารถรับข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
  5. ความหมายทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลการเพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์
  6. ความหมายทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลาการู้จักเรียนรู้ 1 มิติ 2 มิติ 3 มิติ การเขียนภาพ 2 มิติแทนรูป 3 มิติ การบอกทิศทาง การบอกเงาที่เกิดจากภาพ 3 มิติ การเห็นและเข้าใจภาพที่เกิดบนกระจกเงา
  7. ความหมายทักษะการคำนวนความสามารถในการนับจำนวนของวัตถุ การลวก ลบ คูณ หาร การนับจำนวนของวัตถุ การนำจำนวนตัวเลขมากำหนดบอกลักษณะต่างๆ เช่น ความกว้าง ความยาว ความสูง พื้นที่ ปริมาตร น้ำหนัก

week 6



Date 19 July 2013


** หมายเหตุ**  - เนื่องจากวันนี้อาจารย์ผู้สอนติดภาระกิจ จึงไม่มีการเรียนการสอน   แต่อาจารย์ผู้สอนได้มอบหมายงานไว้   คือ  ให้คิดการทดลองวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และ  สื่อวิทยาศาตร์ที่ไว้ในมุมเสริมประสบการณ์

วันอังคารที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2556

week 5

Date 7 July 2013

องค์ความรู้ที่ได้รับ

-อาจารย์ให้นำเสนอของเล่นที่ให้ไปคิดมา
-อาจารย์คอมเม้น

ของเล่นของฉันคือ  ลูกข่างเปลี่ยนสี

                     ตาของเราไม่สามารถสังเกตเห็นซี่ล้อรถหรือลายบนลูกข่างที่กำลังหมุนได้ เนื่องจากเปลี่ยนภาพและสีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เราจึงเห็นสีบนลูกข่างเป็นสีผสม เพราะตาของเราไม่สามารถแยกแยะสีได้ เมื่อหมุนลูกข่างสีเขียวแดงเร็ว ๆ ตาของเราจะมองเห็นเป็นสีเหลือง เป็นต้น





ภาพที่ออกไปนำเสนอ


วันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

week 4

Date 3 July 2013


กิจกรรมการเรียนการสอน

องค์ความรู้ที่ได้รับ
-อาจารย์ให้ประดิษฐ์ของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มาคนล่ะ 1 อย่าง
                            -อาจารย์เปิด   VCD เรื่อง  มหัศจรรย์ของน้ำ


สรุป
       เป็นสิ่งสำคัญสำหรับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดไม่ว่าจะเป็น พืช สัตว์ โดยเฉพาะมนุษย์เราที่ต้องการน้ำประมาณวันละ 1 - 1.5 ลิตร เพื่อทดแทนน้ำที่เราสูญเสียไปวันละ 1 - 1.5 ลิตรเหมือนกัน น้ำเป็นองค์ประกอบของธาตุออกซิเจน(O2)และไฮโดรเจน(H2) ที่ประกอบด้วยอัตราส่วนต่อมวล คือ 8 ต่อ 1 น้ำมีสถานะอยู่ได้ 3 สถานะ คือ ของเหลว ของแข็ง แก๊ส มีจุดเยือกแข็ง 0 องศาเซลเซียส จุดหลอมเหลว 0 องศาเซลเซียส จุดเดือด 100 องศาเซลเซียส
          น้ำบนโลกมีปริมาณมากมายและมีอยู่ทุกที่ บนดิน ใต้ดิน และอากาศ บนโลกเราเมื่อเทียบพื้นที่แล้ว น้ำมีประมาณ 3 ส่วน พื้นดิน 1 ส่วน น้ำบนโลกมีอยู่ 2 ประเภท คือ น้ำเค็ม มีร้อยละ 97 และน้ำจืด มีร้อยละ 3 แต่มีเพียงร้อยละ 1 จากปริมาณน้ำจืดร้อยละ 3 เท่านั้นที่ให้คนบนโลกเกือบ 6 พันล้านคนใช้อุปโภคและบริโภค เพราะอีกร้อยละ 2 เป็นน้ำแข็งอยู่ที่ขั้วโลกเหนือและใต้ น้ำที่มีคุณภาพดีต้องปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำ 3 มิลลกรัมต่อลิตรเป็นอย่างต่ำหรือมากกว่า ถ้าหากต่ำกว่านี้ถือว่าเป็นน้ำเสีย


คุณสมบัติของน้ำ
    ของแข็ง >>>>  น้ำแข็ง
    ของเหลว>>>>  น้ำดื่มน้ำใช้
    ก๊าซ>>>>>>>  ไอน้ำ




วันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2556

week 3

Date 26 June 2013


องค์ความรู้
   
     อาจารย์เปิด VCD เรื่อง ความลับของแสง




สรุป

    การหักเหของแสง

    แสงนั้นวิ่งผ่านตัวกลางด้วยความเร็วจำกัด ความเร็วของแสงในสุญญากาศ c จะมีค่า c = 299,792,458 เมตร ต่อ วินาที (186,282.397 ไมล์ ต่อ วินาที) โดยไม่ขึ้นกับว่าผู้สังเกตการณ์นั้นเคลื่อนที่หรือไม่ เมื่อแสงวิ่งผ่านตัวกลางโปร่งใสเช่น อากาศ น้ำ หรือ แก้ว ความเร็วแสงในตัวกลางจะลดลงซึ่งเป็นเหตุให้เกิดปรากฏการณ์การหักเหของแสง คุณลักษณะของการลดลงของความเร็วแสงในตัวกลางที่มีความหนาแน่นสูงนี้จะวัดด้วย
     เมื่อลำแสงวิ่งผ่านเข้าสู่ตัวกลางจากสุญญากาศ หรือวิ่งผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง แสงจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ แต่เปลี่ยนความยาวคลื่นเนื่องจากความเร็วที่เปลี่ยนไป ในกรณีที่มุมตกกระทบของแสงนั้นไม่ตั้งฉากกับผิวของตัวกลางใหม่ที่แสงวิ่งเข้าหา ทิศทางของแสงจะถูกหักเห ตัวอย่างของปรากฏการณ์หักเหนี้เช่น เลนส์ต่างๆ ทั้งกระจกขยาย คอนแทคเลนส์ แว่นสายตา กล้องจุลทรรศน์ กล้องส่องทางไกล






  
 

วันพุธที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2556

week 2

Date 19 June 2013
 
องค์ความรู้
   
    -ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มล่ะ 6 คนและสรุปหัวข้อต่อไปนี้

1.ความหมายของวิทยาศาสตร์
2.ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
3.พัฒนาการด้านสติปัญญา
4.การเรียนรู้
5.แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
6.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และผลผลิต



     ทักษะที่ได้รับ
        
          -การอ่านจับใจความ
          -การนำเสนอหน้าชั้นรียน

วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556

week 1

Date 12 June 2013
กิจกรรมการเรียนการสอน
Activity




องค์ความรู้

    -อาจารย์ปฐมนิเทศน์
    -อาจารย์บอกรายละเอียดเกี่ยวกับรายวิชา
    -อาจารย์บอกข้อตกลงในการเรียน
    -บอกแนวทางการเขียนแบบบันทึกการเรียน